ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

Knowledge: เกลียวสี่เหลี่ยมคางหมู

trapezoidal-screw-13285-2381447

เกลียวสี่เหลี่ยมคางหมู (Trapezoidal screw) เป็นเกลียวที่เหมาะสำหรับใช้ในการส่งกำลังขับเคลื่อน เพราะมีความแข็งแรงมากกว่าเกลียวสามเหลี่ยม ส่วนใหญ่จะนำไปใช้กับ เกลียวปากกาจับงาน หรือเกลียวของเพลาของเครื่องกลึง เกลียวสี่เหลี่ยมคางหมูก็จะมีทั้งเกลียวในระบบเมตริกและอังกฤษ

เกลียวสี่เหลี่ยมคางหมูระบเมตริก (Tr) เป็นเกลียวที่มีมุมรวมยอดเกลียว 30°
ตารางหาค่า ac

image


ตารางเกลียวสี่เหลี่ยมคางหมูเมตริก
image


สูตรคำนวณ เกลียวสี่เหลี่ยมคางหมูเมตริก Tr 20x4
image


เกลียวสี่เหลี่ยมคางหมูอเมริกัน (Acme)
เป็นเกลียวที่มีมุมรวม 29°  บอกขนาดเป็นนิ้ว จะบอกจำนวนเกลียวต่อนิ้วแทนระยะพิตช์ ดังนั้นถ้าต้องการคำนวณเป็นหน่วย ม.ม. จะต้องคูณด้วย 25.4 ม.ม.

image

ตารางเกลียวสี่เหลี่ยมคางหมูอเมริกัน
image


สูตรคำนวณ เกลียวสี่เหลี่ยมคางหมู Acme 1x5
image


เกลียวหนอน (Brown and Shape Worm Thread)
เป็นเกลียวที่ใช้เฟืองหนอนมีมุมยอดเกลียว 29° เหมือนกับเกลียว Acme แต่จะต่างกันที่สูตรคำนวณ

image


สูตรคำนวณ เกลียวหนอน B & S 1x4

image

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บทนำ

ในวงการอุตสาหกรรมในปัจจุบันคงจะปฎิเสธไม่ได้ว่าการนำเทคโนโลยีทางด้าน CAD-CAM เข้ามาใช้เกิดประโยชน์สูงสุดเป็นสิ่งที่ไม่ไกลเกินจริง ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการพัฒนากระบวนการผลิตแบบอัตโนมัติก็มีความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะกระบวนการผลิตที่ต้องการความละเอียด ความถูกต้อง ความเที่ยงตรงของชิ้นงาน ความน่าเชื่อถือ และความยืดหยุ่นในกระบวนการผลิต เทคโนโลยีที่เข้ามามีบทบาทอย่างยิ่งในกลุ่มอุตสาหกรรมการผลิตได้แก่ CAD/CAM/CAE และ CNC

Mastercam X:Operations Manager

  ทางด้านซ้ายของหน้าต่างในโปรแกรม Mastercam X จะมีพาเนลที่เรียกว่า Operations Manager จะประกอบไปด้วย 2 ส่วนคือ Toolpath และ Solids Managers ในหน้าต่างนี้เราสามารถที่จะทำการแก้ไข Toolpath และ Solid ได้ ปรับขนาดหน้าต่างได้โดยการ Drag ที่ขอบขวาของหน้าต่าง หรือจะทำการลากไปไว้ที่ตำแหน่งอื่นๆ ได้โดยการคลิกไปที่ไตเติ้ลบาร์บนหน้าต่าง Operations Manager และยังซ่อนหน้าต่าง Operations Manager ได้โดยการกด [Alt+O]

Technology: CAD Computer Aided Design

CAD เป็นคำย่อของ Computer Aided Design คือใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ เป็นการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการสร้างชิ้นส่วน (Part) ด้วยแบบจำลองทางเรขาคณิต วิศวกรเครื่องกลหรือวิศวกรออกแบบใช้ CAD ในการสร้างชิ้นส่วน หรือเรียกว่าแบบจำาลอง (Model) และแบบจำาลองนี้สามารถแสดงเป็นแบบ (Drawing) หรือไฟล์ข้อมูล CAD ได้ทั้ง 2 มิติ และ 3 มิติ